ธรรมะสุขใจ

 
๑. อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย.
๒. อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม. 
๓. อตฺตา สุทฺนฺโต ปุริสสฺส โชติ. 
๔. อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ.
๕. อตฺตา หิ อตฺตโน คติ.

๖. อตฺตา หิ ปรมํ ปิโย.  
๗. นตฺถิ อตฺตสมํ เปมํ.
๘. อตฺตนา ว กตํ ปาปํ อตฺตนา สงฺกิลิสฺสติ.
๙. อตฺตนา อกตํ ปาปํ อตฺตนา ว วิสุชฺฌติ.
๑๐. อตฺตตฺถปญฺา อสุจี มนุสฺสา.  

๑๑. อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา.
๑๒. อตฺตานํ ทมยนตฺติ สุพฺพตา.
๑๓. อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ.
๑๔. โย รกฺขติ อตฺตานํ รกฺขิโต ตสฺส พาหิโร.
๑๕. อตฺตานญฺเจ ปิยํ ชญฺา รกฺเขยฺย นํ สุรกฺขิตํ.

พุทธศาสนสุภาษิต
๑.  อัตตวรรค  คือ  หมวดตน
บัณฑิตพึงทำตนให้ผ่องแผ้วจากเครื่องเศร้าหมองจิต.
ถ้าพร่ำสอนผู้อื่นฉันใด ก็ควรทำตนฉันนั้น.
จงเตือนตนด้วยตนเอง.
จงพิจารณาตนด้วยตนเอง.
จงถอนตนขึ้นจากหล่ม เหมือนช้างตกหล่มถอนตนขึ้นฉะนั้น.

จงเป็นผู้ตามรักษาตน อย่าได้เดือดร้อน.
อย่าฆ่าตนเสียเลย.
บุรุษไม่พึงให้ซึ่งตน.
บุรุษไม่พึงสละเสียซึ่งตน.
บุคคลไม่ควรลืมตน.

ไม่ควรพร่าประโยชน์ตน เพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก.
ถ้ารู้ว่าตนเป็นที่รัก ก็ไม่ควรประกอบตนนั้นด้วยความชั่ว.
ติตนเองเพราะเหตุใด ไม่ควรทำเหตุนั้น.
๒๙. อปฺปมาโท อมตํปทํ.
๓๐. อปฺปมาทญฺจ เมธาวี  ธนํ เสฏฺฐํว รกฺขติ      
๓๑. อปฺปมาทํ ปสํสนฺติ.  
๓๒. อปฺปมาเท ปโมทนฺติ.
๓๓. อปฺปมตฺตา น มียนฺติ.

๓๔. อปฺปมตฺโต หิ ฌายนฺโต ปปฺโปติ วิปุลํ สุขํ.
๓๕. อปฺปมตฺโต อุโภ อตฺเถ อธิคฺคณหาติ ปณฺฑิโต.
๓๖. อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ.
๓๗. อปฺปมาทรตา โหถ.
๒.  อัปปมาทวรรค  คือ  หมวดไม่ประมาท.
๓๘. กมฺมํ สตฺเต วิภชติ ยทิทํ หีนปฺปณีตตาย.
๓๙. ยงฺกิญฺจิ สิถิลํ กมฺมํ น ตํ โหติ มหปฺผลํ. 
๔๐. สานิ กมฺมานิ นยนฺติ ทุคฺคตึ.
๔๑. สุกรํ สาธุนา สาธุ.
๔๒. สาธุ ปาเปน ทุกฺกรํ.

๔๓. อกตํ ทุกฺกฏํ เสยฺโย.
๔๔. ปจฺฉา ตปฺปติ ทุกฺกฏํ.
๔๕. กตญฺจ สุกตํ เสยฺโย.
๔๖. น ตํ กมฺมํ กตํ สาธุ ยํ กตฺวา อนุตปฺปติ.
๔๗. ตญฺจ กมฺมํ กตํ สาธุ ยํ กตฺวา นานุตปฺปติ.

๔๘. สุกรานิ อสาธูนิ อตฺตโน อหิตานิ จ.
๔๙. ยํ เว หิตญฺจ สาธุญฺจ ตํ เว ปรมทุกฺกรํ.
๕๐. น หิ ตํ สุลภํ โหติ สุขํ ทุกฺกฏการินา. 
๕๑. กลฺยาณการี กลฺยาณํ. ปาปการี จ ปาปกํ.
๕๒. กมฺมุนา วตฺตี โลโก.

๕๓. นิสมฺม กรณํ เสยฺโย.
๕๔. กตสฺส นตฺถิ ปฏิการํ.
๕๕. ปฏิกจฺเจว ตํ กยิรา ยํ ชญฺ?า หิตมตฺตโน.
๕๖. กยิรา เจ กยิราเถนํ.
๕๗. กเรยฺย วากฺยํ อนุกมฺปกานํ.
๕๘. กาลานุรูปํว ธุรํ นิยุญฺเช.
๕๙. รกฺเขยฺย อตฺตโน สาธุํ ลวณํ โลณตํ ยถา.
๖๐. กิจฺจานุกุพฺพสฺส กเรยฺย กิจฺจํ.
๖๑. นานตฺถกามสฺส กเรยฺย อตฺถํ.
๖๒. มา จ สาวชฺชมาคมา.
๓.  กัมมวรรค  คือ  หมวดกรรม.
๔.  กิเลสวรรค  คือ  หมวดกิเลส.
ความกำหนัดเพราะดำริ เป็นกามของคน.
กามทั้งหลายที่เที่ยง ไม่มีในมนุษย์.
ความอิ่มด้วยกามทั้งหลาย ไม่มีในโลก.
ความอิ่มในกามทั้งหลาย ย่อมไม่มีเพราะฝนคือกหาปณะ.
ทุกข์ (อื่น) ยิ่งกว่ากาม ย่อมไม่มี.

แม่น้ำเสมอด้วยตัณหา ไม่มี.
ความอยากละได้ยากในโลก.
ความอยากมีอารมณ์หาที่สุดมิได้เลย.
ความอยากย่อมเสือไสซึ่งนรชน.
ไฟเสมอด้วยราคะ ไม่มี.

ความโลภเป็นอันตรายแห่งธรรมทั้งหลาย.
ความละโมบเป็นบาปแท้.
ข่ายเสมอด้วยโมหะ ไม่มี.
ผู้บริโภคกาม ย่อมปรารถนากามยิ่งขึ้นไป.
ผู้บริโภคกามเป็นผู้พร่อง ละร่างกายไป.

ผู้มีปัญญาทราม ย่อมฆ่าตนเองเหมือนฆ่าผู้อื่น
เพราะอยากได้ โภคทรัพย์.
คนทั้งหลายอันอวิชชาหุ้มห่อไว้.
ความไม่ประมาท เป็นทางไม่ตาย.
ปราชญ์ย่อมรักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนทรัพย์ประเสริฐสุด.
บัณฑิตย่อมสรรเสริญความไม่ประมาท. 
บัณฑิตย่อมบันเทิงในความไม่ประมาท.
ผู้ไม่ประมาท ย่อมไม่ตาย.

ผู้ไม่ประมาทพินิจอยู่ ย่อมถึงสุขอันไพบูลย์.
บัณฑิตผู้ไม่ประมาท ย่อมได้รับประโยชน์ทั้งสอง.
ท่านทั้งหลายจงยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อม.
ท่านทั้งหลายจงเป็นผู้ยินดีในความไม่ประมาท.
๑๖. ปริโยทเปยฺย อตฺตานํ จิตฺตเกฺลเสหิ ปณฺฑิโต.
๑๗. อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺมนุสาสติ.
๑๘. อตฺตนา โจทยตฺตานํ.
๑๙. ปฏิมํเสตมตฺตนา.
๒๐. ทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนฺโนว กุญฺชโร.

๒๑. อตฺตานุรกฺขี ภว มา อฑยฺหิ.
๒๒. อตฺตานญฺจ น ฆาเตสิ.
๒๓. อตฺตานํ น ทเท โปโส.
๒๔. อตฺตานํ น ปริจฺจเช.
๒๕. อตฺตานํ นาติวตฺเตยฺย.

๒๖. อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย.
๒๗. อตฺตานญฺเจ ปิยํ ชญฺา น นํ ปาเปน สํยุเช.
๒๘. ยทตฺตครหึ ตทกุพฺพมาโน.
ชนะตนนั่นแหละ เป็นดี.
ได้ยินว่าตนแล ฝึกได้ยาก.
ตนที่ฝึกดีแล้ว เป็นแสงสว่างของบุรุษ.
ตนแล เป็นที่พึ่งของตน.
ตนเทียว เป็นคติของตน.

ตนแล เป็นที่รักยิ่ง.
ความรัก (อื่น) เสมอด้วยตนไม่มี.
ตนทำบาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง.
ตนไม่ทำบาปเอง ย่อมหมดจดเอง.
มนุษย์ผู้เห็นแก่ประโยชน์ตน เป็นคนไม่สะอาด.

บัณฑิต ย่อมฝึกตน.
ผู้ประพฤติดี ย่อมฝึกตน.
ผู้มีตนฝึกดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งซึ่งได้ยาก.
ผู้ใดรักษาตนได้ ภายนอกของผู้นั้นก็เป็นอันรักษาด้วย.
ถ้ารู้ว่าตนเป็นที่รัก ก็ควรรักษาตนนั้นให้ดี.

Advertising Zone    Close
 
Online:  1
Visits:  4,367
Today:  4
PageView/Month:  15

ยังไม่ได้ลงทะเบียน

เว็บไซต์นี้ยังไม่ได้ลงทะเบียนยืนยันการเป็นเจ้าของเว็บไซต์กับ Siam2Web.com